สะพาน ทางหลวงพิเศษ
ReadyPlanet.com
bullet กฎกระทรวง กําหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ. ๒๕๕๙
dot
Group Menu
dot
bulletวุฒิวิศวกรออกแบบโครงสร้าง
dot
Newsletter

dot
bulletโครงการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม
bulletวิศวกร งานโลหะ และ เหล็ก
bulletสารพัดปัญหาของวิศวกรโยธา ก่อสร้าง
bulletรับรองความมั่นคงอาคาร โรงเรียนกวดวิชา วุฒิวิศวกร
bulletคณภาพของ วิศวกร
bulletไฟไหม้ กับ งาน วิศวกร โยธา
bulletPower Plant Job กับ งาน วิศวกร
bulletวิศวกรโยธา กับ ตลาด รับสร้าง บ้านชิ้นส่วนสำเร็จรูป
bulletวิศวกร กำหนด มาตราฐาน ออกแบบ แผนผังโรงงาน
bulletวิศวกร กับ การเลือกทำเล ที่ตั้งโรงงาน
bulletขอบเขตงานที่วิศวกร ระดับต่างๆ ทำได้ แก้ไขใหม่
bulletมาตรฐานกําหนดตําแหน่งสายงาน วิศวกรรมโยธา
bulletน้ำ และ สารผสม คอนกรีต
bulletgooglebc0321ea4a8e3495.html




สะพาน ทางหลวงพิเศษ

สะพานเกียกกาย-ถนนต่อเชื่อม โมเดลใหม่เวอร์ชั่น กทม.ใช้งบฯ 1.6 หมื่นล้าน
 

(กรุงเทพมหานคร) เริ่มคลิกออฟโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณแยกเกียกกายและถนนต่อเชื่อม เปิดข้อมูลให้ประชาชนในพื้นที่รับรู้ถึงข้อมูล ทั้งโครงการใช้วงเงินเบ็ดเสร็จ 16,000 ล้านบาท เป็นงบฯก่อสร้าง "สะพานเกียกกาย" 6,890 ล้านบาท ก่อสร้างถนนใหม่และขยายถนนเดิม สาย 9,110 ล้านบาท




*** แบ่งสร้าง 
ช่วง "สะพานเกียกกาย"

 



การก่อสร้างแบ่ง ช่วง คือ 1.ทาง ยกระดับ ช่องจราจร และปรับปรุงถนน ในฝั่งธนฯ ค่าก่อสร้าง 780 ล้านบาท เวนคืน 1,925 ล้านบาท มีที่ดินเอกชน 1,450 ล้านบาท สิ่งปลูกสร้างเอกชน 475 ล้านบาท




2.สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ช่องจราจร รวมทางขึ้น-ลง ค่าก่อสร้าง 790 ล้านบาท เวนคืน 140 ล้านบาท มีที่ดินเอกชน 100 ล้านบาท สิ่งปลูกสร้างเอกชน 40 ล้านบาท




3.ทางยกระดับ และปรับปรุงถนนฝั่งพระนคร จากแม่น้ำเจ้าพระยา-ถึงแยกสะพานแดง ค่าก่อสร้าง 850 ล้านบาท เวนคืน 1,565 ล้านบาท มีที่ดินเอกชน 50 ล้านบาท สิ่งปลูกสร้างเอกชน 15 ล้านบาท และค่าทดแทนสิ่งปลูกสร้างที่ราชพัสดุของทหารและราชการอื่น ๆ1,500 ล้านบาท 4.ทางยกระดับและปรับปรุงถนนฝั่งพระนคร จากแยกสะพานแดง-ถนนกำแพงเพชร ค่าก่อสร้าง 770 ล้านบาท เวนคืน 70 ล้านบาท มีที่ดินเอกชน 50 ล้านบาท สิ่งปลูกสร้างเอกชน 20 ล้านบาท

 

 

 

*** ตัดใหม่-ขยายถนนเดิม สาย




ส่วนถนนต่อเชื่อม 
สาย มี 1.ขยายถนนสามเสนและประชาราษฎร์ สาย เป็น ช่องจราจร วงเงิน 1,940 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 300 ล้านบาท เวนคืน 1,600 ล้านบาท




2.ก่อสร้างถนนคู่ขนานถนนสามเสน วงเงิน 2,280 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 1,360 ล้านบาท เวนคืน 1,500 ล้านบาท มีงานก่อสร้างถนนใหม่จากแยกเตาปูนเชื่อมกับถนนพิชัยบริเวณจุดตัดถนนอำนวยสงคราม ขนาด 6 ช่องจราจร ยาว 2.7 กิโลเมตร งานปรับปรุงทางแยกเตาปูนบริเวณจุดตัดถนนกรุงเทพ-นนทบุรีกับประชาราษฎร์สาย ทางลอดแนวถนนใหม่ขนาด ช่องจราจร




3.ถนนเชื่อมถนนประชาชื่นกับพระรามที่ วงเงิน 1,150 ล้านบาท ก่อสร้าง 760 ล้านบาท เวนคืน 370 ล้านบาท เป็นถนนตัดใหม่ขนาด 6 ช่องจราจร จากถนนประชาชื่นตัดกับถนนประชาราษฎร์สาย ไปยังถนนพระรามที่ ระยะทาง 1.75 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 420ล้านบาท




สร้างสะพานข้ามแยกประชาชื่นตัดกับถนนประชาราษฎร์สาย 
ขนาด ช่องจราจร ยาว450 เมตร งบฯก่อสร้าง 170 ล้านบาท ก่อสร้างสะพานข้าม ทางแยกตัดกับถนนเตชะวณิชขนาด ช่องจราจร ยาว 450 เมตร งบฯก่อสร้าง 170 ล้านบาท




4.ก่อสร้างถนนเลียบคลองเปรมประชากรจากถนนเตชะวณิช-ถนนรัชดาฯ วงเงิน 2,120ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 900 ล้านบาท เวนคืน 1,200 ล้านบาท 5.ขยายถนนเทอดดำริห์จากถนนอำนวยสงคราม-ถนนประชาราษฎร์สาย วงเงิน 1,020 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 600ล้านบาท เวนคืน 400 ล้านบาท




***แนวก่อสร้างเฉียดโรงพยาบาลยันฮี




ในแนวโครงการมี 
45 ชุมชน ในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงที่เข้าข่ายจะถูกเวนคืนที่ดิน รวมถึงวัดโรงเรียนโรงพยาบาล อาทิ ชุมชนเติมสุขชุมชนแสงทองชุมชนคลองพระครูชุมชนคลองมะนาวชุมชนจรัญวิถี 74, ชุมชนชินศรี 91, ชุมชนพัฒนาซอย 85 วัดแก้วฟ้าโรงพยาบาลยันฮี เป็นต้น




ย้อนกลับไปดูผลการศึกษาต้นฉบับจากกรมทางหลวงชนบทเมื่อปี 2548 สรุปยอดเวนคืนที่ดินสะพานเกียกกายไว้ที่ 1,040 หลังคาเรือน แนวเส้นทางผ่านพื้นที่หนาแน่นพอสมควรในเขตบางพลัด รวมถึงวัดแก้วฟ้าและโรงพยาบาลยันฮีด้วย

 



*** ตัดใหม่-ขยายถนนเดิม 
สาย

 



ส่วนถนนต่อเชื่อม สาย มี 1.ขยายถนนสามเสนและประชาราษฎร์ สาย เป็น ช่องจราจร วงเงิน 1,940 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 300 ล้านบาท เวนคืน 1,600 ล้านบาท




2.ก่อสร้างถนนคู่ขนานถนนสามเสน วงเงิน 2,280 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 1,360 ล้านบาท เวนคืน 1,500 ล้านบาท มีงานก่อสร้างถนนใหม่จากแยกเตาปูนเชื่อมกับถนนพิชัยบริเวณจุดตัดถนนอำนวยสงคราม ขนาด 6 ช่องจราจร ยาว 2.7 กิโลเมตร งานปรับปรุงทางแยกเตาปูนบริเวณจุดตัดถนนกรุงเทพ-นนทบุรีกับประชาราษฎร์สาย ทางลอดแนวถนนใหม่ขนาด ช่องจราจร




3.ถนนเชื่อมถนนประชาชื่นกับพระรามที่ วงเงิน 1,150 ล้านบาท ก่อสร้าง 760 ล้านบาท เวนคืน 370 ล้านบาท เป็นถนนตัดใหม่ขนาด 6 ช่องจราจร จากถนนประชาชื่นตัดกับถนนประชาราษฎร์สาย ไปยังถนนพระรามที่ ระยะทาง 1.75 กิโลเมตร ค่าก่อสร้าง 420ล้านบาท




สร้างสะพานข้ามแยกประชาชื่นตัดกับถนนประชาราษฎร์สาย 
ขนาด ช่องจราจร ยาว450 เมตร งบฯก่อสร้าง 170 ล้านบาท ก่อสร้างสะพานข้าม ทางแยกตัดกับถนนเตชะวณิชขนาด ช่องจราจร ยาว 450 เมตร งบฯก่อสร้าง 170 ล้านบาท




4.ก่อสร้างถนนเลียบคลองเปรมประชากรจากถนนเตชะวณิช-ถนนรัชดาฯ วงเงิน 2,120ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 900 ล้านบาท เวนคืน 1,200 ล้านบาท 5.ขยายถนนเทอดดำริห์จากถนนอำนวยสงคราม-ถนนประชาราษฎร์สาย วงเงิน 1,020 ล้านบาท ค่าก่อสร้าง 600ล้านบาท เวนคืน 400 ล้านบาท




*** แนวก่อสร้างเฉียดโรงพยาบาลยันฮี




ในแนวโครงการมี 
45 ชุมชน ในพื้นที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงที่เข้าข่ายจะถูกเวนคืนที่ดิน รวมถึงวัดโรงเรียนโรงพยาบาล อาทิ ชุมชนเติมสุขชุมชนแสงทองชุมชนคลองพระครูชุมชนคลองมะนาวชุมชนจรัญวิถี 74, ชุมชนชินศรี 91, ชุมชนพัฒนาซอย 85 วัดแก้วฟ้าโรงพยาบาลยันฮี เป็นต้น




ย้อนกลับไปดูผลการศึกษาต้นฉบับจากกรมทางหลวงชนบทเมื่อปี 2548 สรุปยอดเวนคืนที่ดินสะพานเกียกกายไว้ที่ 1,040 หลังคาเรือน แนวเส้นทางผ่านพื้นที่หนาแน่นพอสมควรในเขตบางพลัด รวมถึงวัดแก้วฟ้าและโรงพยาบาลยันฮีด้วย

 

 

 



ที่มา ประชาชาติธุรกิจ 27/09/2553


 

ถ้า พูดถึงโครงการพระราชดำริที่มีมากมายหลากหลายทั่วประเทศที่เรารู้จักนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถในทุกๆด้านเปรียบได้ ดั่งพ่อที่คอยดูแลลูก ประชาชนชาวไทยอย่างไม่เคยเหน็ดเหนื่อย และแม้วันนี้พระองค์ผู้เป็นมิ่งขวัญของชนชาวไทยจะครองราชย์มานานกว่า 60 ปีแล้วนั้น ทว่าพระองค์ท่านก็ไม่เคยหยุดพระราชกรณียกิจที่จะพัฒนาประเทศไทย

หลายคนที่ขับรถผ่านไป-มา แถวถนนพระราม 3 คง จะต้องเคยเห็นสะพานแขวนแห่งใหม่ที่ตั้งตระหง่านมานานหลายปี และเปิดให้ผู้ใช้เส้นทางได้มีโอกาสสัญจรผ่านสะพานดังกล่าวที่มีชื่อเรียก อย่างเป็นทางการว่าสะพานภูมิพล หรือที่เราอาจเคยเห็นป้ายบอกทางแถวๆนั้น เขียนว่า "สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม" นั่นเอง

 

สะพานภูมิพลหรือสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมนั้น เป็นเส้นทางคมนาคมแห่งใหม่ที่ช่วยสร้างความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นต่อผู้คนที่ อาศัยอยู่บนย่านถนนพระราม 3 ที่ต้องการจะสัญจรไปยังทางเขตบางนาให้มีความง่าย-สะดวกมากกว่าเดิมที่เคยเป็น

เริ่มแรกเดิมทีการที่ชาวพระราม3จะเดินทางมายังฝั่งพระประแดงหรือไปยังฝั่งสำโรงนั้นจำต้องเดินทางผ่านเส้นทางของการทางพิเศษที่จะไปตัดลงบริเวณ 4 แยก บางนา เช่นเดียวกับชาวพระประแดงที่ต้องเดินทางไปยังบริเวณสำโรงต้องใช้บริการจากแพ ขนานยนต์ที่ปัจจุบันก็ยังมีให้บริการอยู่เหมือนเดิม

ด้วยวิสัยทัศน์ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวที่เล็งเห็นถึงการสร้างโครงข่ายถนนจากท่าเรือกรุงเทพไปยังเขต อุตสาหกรรมในจังหวัดสุมทรปราการและภูมิภาคอื่นๆ โดยไม่ต้องให้รถบรรทุกวิ่งเข้าไปในตัวเมือง จึงมีพระราชดำริให้ ก่อสร้างสะพานเพื่อเชื่อมต่อระหว่างเขตยานนาวา และเขตราษฏร์บูรณะ เข้ากับอำเภอพระประแดงจังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานชื่อสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาทั้ง 2 แห่ง โดยด้านทิศเหนือเชื่อมกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการ ว่า "สะพานภูมิพล 1" ส่วนด้านทิศใต้เชื่อมอำเภอพระประแดงกับตำบลสำโรงใต้ พระราชทานชื่อว่า "สะพานภูมิพล 2" เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2552


สะพานดังกล่าวเป็นสะพานขึงขนาด 7 ช่องทางการจราจร ทำจากปูนคอนกรีตเสริมแรง ที่มีความสูงของสะพานจากแม่น้ำเจ้าพระยากว่า 50 เมตร เพื่อให้เรือขนสินค้านั้นสามารถรอดผ่านได้ โดยในช่วงแรกของสะพานที่มีจุดลงที่ถนนสุขสวัสดิ์นั้นมีความยาวกว่า 326 เมตร ส่วนช่วงที่ 2 ของสะพานที่บรรจบลงถนนปู่เจ้าสมิงพรายนั้นนั้นมีความยาว 398 เมตร และมีความสูง 50 เมตรเช่นกัน

 

เส้นทางที่เชื่อมระหว่างเขตเมืองกับพื้นที่ อุตสาหกรรมและย่านชุมชนอย่างพระประแดง ทำให้ตลอดหลายปีที่ผ่านมาตั้งแต่สะพานเริ่มเปิดใช้อย่างไม่เป็นทางการ ผู้คนในถนนย่านพระราม3 -พระประแดง และปู่เจ้าสมิงพรายได้มีโอกาสใช้เส้นทางดังกล่าวในการไปมาหาสู่ รวมถึงมุ่งหน้าเข้าเมือง ที่ทำให้การเดินทางที่ต้องอ้อมและขึ้นทางด่วนเสียค่าบริการจำนวนมาก กลับจบลงที่เพิ่งการเดินทางไม่ถึง 30 นาที ทำให้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้นไม่ว่าจะมาจากทางใด

 

ะพาน ภูมิพลนี้นับว่าเป็นโครงการพระราชดำริล่าสุด ที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อพวกเราจากวิสัยทัศน์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัว และด้วยพระอัจฉริยภาพของพระองค์ที่เล็งเห็นถึงเส้นทางที่อาจเป็นประโยชน์ ทำให้ในวันนี้เราได้มีสะพานแห่งใหม่ ที่สร้างภูมิทัศน์ที่ดีต่อกรุงเทพมหานคร เช่นเดียวกับประโยชน์ที่เป็นเส้นทางเชื่อมต่อในการดำเนินธุรกิจและไปมาหาสู่ ของประชาชน

 

ภาพประกอบจา่ก Wikipedia

 

Sanook! Auto Comment

 

หลายคนคงจะรู้จักสะพานวงแหวนอุตสาหกรรมกันเป็นอย่างดีในฐานะเส้นทางที่อำนวยความสะดวกในการเดินทางระหว่างถนนพระราม 3 ไปยังถนนสุขสวัสดิ์ หรือ ปู่เจ้าสมิงพราย ที่จะเรียกว่าเป็นเส้นทางเดียวที่ใกล้ที่สุด หากคุณอยากเดินทางไปสำโรง หรือมาพระราม 3 โดยไม่เสียเงิน 45 บาท

ทั้งนี้นี่เป็นโครงการพระราชดำริของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่พระองค์ทรงเล็งเห็นถึงการสร้างเส้นทางคมนาคมแห่งใหม่ ให้กระชับ และลดความตึงเครียดของการจราจรในเขตเมือง ที่เพราะพระบารมีของท่านทำให้เราได้ลดเวลาการเดินทางและสะดวกสบายมากยิ่ง ขึ้น

 

รับ ออกแบบ อาคาร

 

 

รับรองรายการคำนวณ

 

 

วิเคราะห์แรงแผ่นดินไหว

 

 

ตรวจสอบอาคาร โดย วุฒิวิศวกร

ปรึกษา ได้ที่ อีเมลย์ 4we@4wengineering.com

 บริษัท 4 ดับบลิว ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด ทีมงาน วุฒิวิศวกร ไฟฟ้า วุฒิวิศวกร เครื่องกล วุฒิสถาปนิก วุฒิวิศวกร อุตสาหการ นำโดย วุฒิวิศวกรโยธา

โทร 0812974848